ในประเทศ

กรมทางหลวง จัดประชุมสรุปผลการศึกษาปรับปรุงถนนทางเลี่ยงเมืองนางรอง (ด้านใต้) แก้ไขปัญหาจราจร เพิ่มประสิทธิภาพการคมนาคมขนส่ง

วันนี้ (15 สิงหาคม 2566) เวลา 09.00 . ห้องเอกสิทธิ์ โรงแรมเอกลดา อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์

นายปิยะ ปิจนำ รองผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ เป็นประธานเปิดการประชุมปัจฉิมนิเทศโครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจรทางเลี่ยงเมืองนางรอง (ด้านใต้) โดยการประชุมมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลสรุปการศึกษาโครงการ ครอบคลุมผลการศึกษาด้านวิศวกรรมและจราจร ด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อมและ

ผลการดำเนินงานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน พร้อมทั้งรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการศึกษาของโครงการ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมการประชุมได้แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เพื่อนำมาประกอบการจัดทำรายงานสรุปผลการศึกษาโครงการให้มีความสมบูรณ์ต่อไป โดยมีผู้แทนจากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรธุรกิจเอกชน และภาคประชาชน เข้าร่วมการประชุม




สำหรับการจัดประชุมในครั้งนี้
บริษัทที่ปรึกษาโครงการฯ ได้นำเสนอสรุปผลการศึกษาโครงการ โดยมีรายละเอียดต่างๆ ดังนี้ สำหรับพื้นที่โครงการตั้งอยู่บริเวณอำเภอนางรอง และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ มีจุดเริ่มต้นโครงการบนทางหลวงหมายเลข 24 บริเวณ กม.117+500 แนวเส้นทางมุ่งไปทางทิศใต้ ประมาณ

2.7 กิโลเมตร ตัดผ่านพื้นที่เกษตรกรรมบริเวณบ้านหนองโบสถ์ จากนั้นมุ่งเบี่ยงไปทางทิศตะวันออก ไปจบถึงบริเวณลำท้องเรือ แล้วมุ่งเบี่ยงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือมุ่งหน้าไปตัดทางหลวงหมายเลข 24 ประมาณ กม.129+170 ซึ่งอยู่ระหว่างสถานีบริการ NGV กับโฮมช็อป สาขานางรอง แล้วเข้าสู่จุดสิ้นสุดโครงการโดยมุ่งไปทางทิศเหนือเพื่อเชื่อมกับทางหลวงหมายเลข 218 ประมาณ กม. 48+000 รวมระยะทางประมาณ 18 กิโลเมตร

โดยรูปแบบการพัฒนาถนนโครงการ แบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ ดังนี้ 1.รูปแบบทั่วไปของถนนโครงการ มีเขตทางกว้าง 60 เมตร ออกแบบเป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจร(ไปกลับ) แบ่งทิศทางจราจรด้วยเกาะกลางแบบกำแพงกั้น (Barrier Median) 2.รูปแบบทางคู่ขนานบริเวณย่านชุมชนของโครงการ (ช่วง กม.3+100 ถึง กม.4+600) มีเขตทางกว้าง 70 เมตร โดยออกแบบเป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจร (ไปกลับ) แบ่งทิศทางจราจรด้วยเกาะกลางแบบกำแพงกั้น (Barrier Median) พร้อมทางคู่ขนานขนาด 2 ช่องจราจรต่อหนึ่งทิศทาง 3.รูปแบบบริเวณจุดกลับรถโครงการ มีจุดกลับรถของโครงการทั้งหมด 15 ตำแหน่ง แบ่งเป็นรูปแบบจุดกลับรถใต้สะพาน ช่องลอด ความสูง 3.50 เมตร จำนวน 6 ตำแหน่ง จุดกลับรถใต้สะพาน ช่องลอด ความสูง 5.50 เมตรจำนวน 6 ตำแหน่ง และจุดกลับรถระดับพื้น จำนวน 3 ตำแหน่ง

4.รูปแบบจุดตัดทางแยก มีการออกแบบจุดตัดทางแยก จำนวน 5 จุดตัด ดังนี้

วันนี้ (15 สิงหาคม 2566) เวลา 09.00 . ห้องเอกสิทธิ์ โรงแรมเอกลดา อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์

นายปิยะ ปิจนำ รองผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ เป็นประธานเปิดการประชุมปัจฉิมนิเทศโครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจรทางเลี่ยงเมืองนางรอง (ด้านใต้) โดยการประชุมมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลสรุปการศึกษาโครงการ ครอบคลุมผลการศึกษาด้านวิศวกรรมและจราจร ด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อมและ

ผลการดำเนินงานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน พร้อมทั้งรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการศึกษาของโครงการ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมการประชุมได้แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เพื่อนำมาประกอบการจัดทำรายงานสรุปผลการศึกษาโครงการให้มีความสมบูรณ์ต่อไป โดยมีผู้แทนจากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรธุรกิจเอกชน และภาคประชาชน เข้าร่วมการประชุม

สำหรับการจัดประชุมในครั้งนี้ บริษัทที่ปรึกษาโครงการฯ ได้นำเสนอสรุปผลการศึกษาโครงการ โดยมีรายละเอียดต่างๆ ดังนี้ สำหรับพื้นที่โครงการตั้งอยู่บริเวณอำเภอนางรอง และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ มีจุดเริ่มต้นโครงการบนทางหลวงหมายเลข 24 บริเวณ กม.117+500 แนวเส้นทางมุ่งไปทางทิศใต้ ประมาณ

2.7 กิโลเมตร ตัดผ่านพื้นที่เกษตรกรรมบริเวณบ้านหนองโบสถ์ จากนั้นมุ่งเบี่ยงไปทางทิศตะวันออก ไปจบถึงบริเวณลำท้องเรือ แล้วมุ่งเบี่ยงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือมุ่งหน้าไปตัดทางหลวงหมายเลข 24 ประมาณ กม.129+170 ซึ่งอยู่ระหว่างสถานีบริการ NGV กับโฮมช็อป สาขานางรอง แล้วเข้าสู่จุดสิ้นสุดโครงการโดยมุ่งไปทางทิศเหนือเพื่อเชื่อมกับทางหลวงหมายเลข 218 ประมาณ กม. 48+000 รวมระยะทางประมาณ 18 กิโลเมตร

โดยรูปแบบการพัฒนาถนนโครงการ แบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ ดังนี้ 1.รูปแบบทั่วไปของถนนโครงการ มีเขตทางกว้าง 60 เมตร ออกแบบเป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจร(ไปกลับ) แบ่งทิศทางจราจรด้วยเกาะกลางแบบกำแพงกั้น (Barrier Median) 2.รูปแบบทางคู่ขนานบริเวณย่านชุมชนของโครงการ (ช่วง กม.3+100 ถึง กม.4+600) มีเขตทางกว้าง 70 เมตร โดยออกแบบเป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจร (ไปกลับ) แบ่งทิศทางจราจรด้วยเกาะกลางแบบกำแพงกั้น (Barrier Median) พร้อมทางคู่ขนานขนาด 2 ช่องจราจรต่อหนึ่งทิศทาง 3.รูปแบบบริเวณจุดกลับรถโครงการ มีจุดกลับรถของโครงการทั้งหมด 15 ตำแหน่ง แบ่งเป็นรูปแบบจุดกลับรถใต้สะพาน ช่องลอด ความสูง 3.50 เมตร จำนวน 6 ตำแหน่ง จุดกลับรถใต้สะพาน ช่องลอด ความสูง 5.50 เมตรจำนวน 6 ตำแหน่ง และจุดกลับรถระดับพื้น จำนวน 3 ตำแหน่ง

4.รูปแบบจุดตัดทางแยก มีการออกแบบจุดตัดทางแยก จำนวน 5 จุดตัด ดังนี้

1.รูปแบบจุดตัดทางแยกบริเวณจุดเริ่มต้นโครงการ บนทางหลวงหมายเลข 24 ออกแบบเป็นสะพานยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 24 เดิม เพื่อรองรับรถที่ต้องการเดินทางไปอำเภอหนองกี่ (1 ทิศทาง) โดยยกข้ามถนนในทิศทางเลี้ยวขวา เพื่อให้เข้าสู่ถนนโครงการได้อย่างอิสระโดยไม่ตัดกระแสจราจร และทิศการเดินทางออกจากถนนโครงการที่ต้องการเลี้ยวขวาไปอำเภอนางรอง ให้ไปใช้จุดกลับรถบริเวณใต้สะพานยกระดับ

2.รูปแบบจุดตัดทางแยกบริเวณจุดตัดทางหลวงหมายเลข 348 ออกแบบเป็นสะพานยกระดับบนถนนโครงการ เพื่อรองรับรถที่ต้องการเดินทางไปอำเภอหนองกี่และไปอำเภอเมืองบุรีรัมย์ (2 ทิศทาง) และออกแบบเป็นวงเวียนระดับพื้น เพื่อรองรับรถทางตรงและเลี้ยวขวาทุกทิศทางบนทางหลวงหมายเลข 348 ที่ตัดกับถนนโครงการ

3.รูปแบบจุดตัดทางแยกบริเวณจุดตัดทางหลวงชนบท บร.3001 ออกแบบเป็นสะพานยกระดับบนถนนโครงการ เพื่อรองรับรถที่ต้องการเดินทางไปอำเภอหนองกี่และไปอำเภอบุรีรัมย์ (2 ทิศทาง) และบริเวณทางแยกระดับพื้นออกแบบเป็นทางแยกควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจร เพื่อรองรับรถเลี้ยวขวาทุกทิศทาง

4.รูปแบบจุดตัดทางแยกบริเวณจุดตัดทางหลวงหมายเลข 24 ด้านทิศตะวันออกออกแบบเป็นสะพานยกระดับบนถนนโครงการข้ามทางหลวงหมายเลข 24 เพื่อรองรับรถที่ต้องการไปอำเภอเมืองบุรีรัมย์และอำเภอ

ประโคนชัยเป็นรูปแบบสะพานยกระดับรูปตัววาย (Y) โดยสะพานทางตรงรองรับรถที่ต้องการไปอำเภอเมืองบุรีรัมย์ และมีสะพานเชื่อมต่อเพื่อรองรับรถที่ต้องการเลี้ยวขวาเพื่อไปอำเภอประโคนชัย และทางแยกระดับพื้นมีลักษณะเป็น

วงเวียน เพื่อรองรับรถเลี้ยวขวาทุกทิศทาง

5.รูปแบบจุดตัดทางแยกบริเวณจุดสิ้นสุดโครงการ บนทางหลวงหมายเลข 218 ออกแบบเป็นทางแยกระดับพื้นควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจร เพื่อรองรับรถที่ต้องการเลี้ยวขวาออกจากถนนโครงการไปยังอำเภอเมืองบุรีรัมย์และรถที่มาจากอำเภอเมืองบุรีรัมย์ต้องการเดินทางไปยังอำเภอนางรอง โดยรถที่มาจากอำเภอนางรองต้องการเดินทางไปยังอำเภอบุรีรัมย์สามารถเดินทางได้อย่างอิสระไม่จำเป็นต้องหยุดรอสัญญาณไฟจราจร

ทั้งนี้ บริษัทที่ปรึกษาโครงการฯ ได้ดำเนินการศึกษาและประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงการ ครอบคลุมทุกกิจกรรมการก่อสร้างพร้อมทั้งกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่สำคัญไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพื่อลดผลกระทบต่อประชาชน ชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อมโดยรอบโครงการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด

ภายหลังการประชุมในครั้งนี้ บริษัทที่ปรึกษาโครงการฯ ของกรมทางหลวง จะดำเนินการรวบรวมข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากทุกภาคส่วน เพื่อนำมาพิจารณาประกอบการจัดทำรายงานสรุปผลการศึกษาโครงการให้มีความครบถ้วนสมบูรณ์ต่อไป โดยผู้สนใจสามารถติดตามความคืบหน้าและรายละเอียดของโครงการฯ ได้ 2 ช่องทางได้แก่ 1.เว็บไซต์ www.nangrongbypass-south.com 2.Line : @nangrongbypass-south

1.รูปแบบจุดตัดทางแยกบริเวณจุดเริ่มต้นโครงการ บนทางหลวงหมายเลข 24 ออกแบบเป็นสะพานยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 24 เดิม เพื่อรองรับรถที่ต้องการเดินทางไปอำเภอหนองกี่ (1 ทิศทาง) โดยยกข้ามถนนในทิศทางเลี้ยวขวา เพื่อให้เข้าสู่ถนนโครงการได้อย่างอิสระโดยไม่ตัดกระแสจราจร และทิศการเดินทางออกจากถนนโครงการที่ต้องการเลี้ยวขวาไปอำเภอนางรอง ให้ไปใช้จุดกลับรถบริเวณใต้สะพานยกระดับ

2.รูปแบบจุดตัดทางแยกบริเวณจุดตัดทางหลวงหมายเลข 348 ออกแบบเป็นสะพานยกระดับบนถนนโครงการ เพื่อรองรับรถที่ต้องการเดินทางไปอำเภอหนองกี่และไปอำเภอเมืองบุรีรัมย์ (2 ทิศทาง) และออกแบบเป็นวงเวียนระดับพื้น เพื่อรองรับรถทางตรงและเลี้ยวขวาทุกทิศทางบนทางหลวงหมายเลข 348 ที่ตัดกับถนนโครงการ

3.รูปแบบจุดตัดทางแยกบริเวณจุดตัดทางหลวงชนบท บร.3001 ออกแบบเป็นสะพานยกระดับบนถนนโครงการ เพื่อรองรับรถที่ต้องการเดินทางไปอำเภอหนองกี่และไปอำเภอบุรีรัมย์ (2 ทิศทาง) และบริเวณทางแยกระดับพื้นออกแบบเป็นทางแยกควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจร เพื่อรองรับรถเลี้ยวขวาทุกทิศทาง

4.รูปแบบจุดตัดทางแยกบริเวณจุดตัดทางหลวงหมายเลข 24 ด้านทิศตะวันออกออกแบบเป็นสะพานยกระดับบนถนนโครงการข้ามทางหลวงหมายเลข 24 เพื่อรองรับรถที่ต้องการไปอำเภอเมืองบุรีรัมย์และอำเภอ

ประโคนชัยเป็นรูปแบบสะพานยกระดับรูปตัววาย (Y) โดยสะพานทางตรงรองรับรถที่ต้องการไปอำเภอเมืองบุรีรัมย์ และมีสะพานเชื่อมต่อเพื่อรองรับรถที่ต้องการเลี้ยวขวาเพื่อไปอำเภอประโคนชัย และทางแยกระดับพื้นมีลักษณะเป็น

วงเวียน เพื่อรองรับรถเลี้ยวขวาทุกทิศทาง

5.รูปแบบจุดตัดทางแยกบริเวณจุดสิ้นสุดโครงการ บนทางหลวงหมายเลข 218 ออกแบบเป็นทางแยกระดับพื้นควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจร เพื่อรองรับรถที่ต้องการเลี้ยวขวาออกจากถนนโครงการไปยังอำเภอเมืองบุรีรัมย์และรถที่มาจากอำเภอเมืองบุรีรัมย์ต้องการเดินทางไปยังอำเภอนางรอง โดยรถที่มาจากอำเภอนางรองต้องการเดินทางไปยังอำเภอบุรีรัมย์สามารถเดินทางได้อย่างอิสระไม่จำเป็นต้องหยุดรอสัญญาณไฟจราจร

ทั้งนี้ บริษัทที่ปรึกษาโครงการฯ ได้ดำเนินการศึกษาและประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงการ ครอบคลุมทุกกิจกรรมการก่อสร้างพร้อมทั้งกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่สำคัญไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพื่อลดผลกระทบต่อประชาชน ชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อมโดยรอบโครงการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด

ภายหลังการประชุมในครั้งนี้ บริษัทที่ปรึกษาโครงการฯ ของกรมทางหลวง จะดำเนินการรวบรวมข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากทุกภาคส่วน เพื่อนำมาพิจารณาประกอบการจัดทำรายงานสรุปผลการศึกษาโครงการให้มีความครบถ้วนสมบูรณ์ต่อไป โดยผู้สนใจสามารถติดตามความคืบหน้าและรายละเอียดของโครงการฯ ได้ 2 ช่องทางได้แก่ 1.เว็บไซต์ www.nangrongbypass-south.com 2.Line : @nangrongbypass-south

เอกสิทธิ์ โรงแรมเอกลดา อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์

นายปิยะ ปิจนำ รองผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ เป็นประธานเปิดการประชุมปัจฉิมนิเทศโครงการจ้างวิศวกรที่ปรึกษาสำรวจและออกแบบทางหลวง 4 ช่องจราจรทางเลี่ยงเมืองนางรอง (ด้านใต้) โดยการประชุมมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลสรุปการศึกษาโครงการ ครอบคลุมผลการศึกษาด้านวิศวกรรมและจราจร ด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อมและ

ผลการดำเนินงานด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน พร้อมทั้งรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการศึกษาของโครงการ พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมการประชุมได้แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เพื่อนำมาประกอบการจัดทำรายงานสรุปผลการศึกษาโครงการให้มีความสมบูรณ์ต่อไป โดยมีผู้แทนจากหน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรธุรกิจเอกชน และภาคประชาชน เข้าร่วมการประชุม
สำหรับการจัดประชุมในครั้งนี้ บริษัทที่ปรึกษาโครงการฯ ได้นำเสนอสรุปผลการศึกษาโครงการ โดยมีรายละเอียดต่างๆ ดังนี้ สำหรับพื้นที่โครงการตั้งอยู่บริเวณอำเภอนางรอง และอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์ มีจุดเริ่มต้นโครงการบนทางหลวงหมายเลข 24 บริเวณ กม.117+500 แนวเส้นทางมุ่งไปทางทิศใต้ ประมาณ

2.7 กิโลเมตร ตัดผ่านพื้นที่เกษตรกรรมบริเวณบ้านหนองโบสถ์ จากนั้นมุ่งเบี่ยงไปทางทิศตะวันออก ไปจบถึงบริเวณลำท้องเรือ แล้วมุ่งเบี่ยงไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือมุ่งหน้าไปตัดทางหลวงหมายเลข 24 ประมาณ กม.129+170 ซึ่งอยู่ระหว่างสถานีบริการ NGV กับโฮมช็อป สาขานางรอง แล้วเข้าสู่จุดสิ้นสุดโครงการโดยมุ่งไปทางทิศเหนือเพื่อเชื่อมกับทางหลวงหมายเลข 218 ประมาณ กม. 48+000 รวมระยะทางประมาณ 18 กิโลเมตร

โดยรูปแบบการพัฒนาถนนโครงการ แบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ ดังนี้ 1.รูปแบบทั่วไปของถนนโครงการ มีเขตทางกว้าง 60 เมตร ออกแบบเป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจร(ไปกลับ) แบ่งทิศทางจราจรด้วยเกาะกลางแบบกำแพงกั้น (Barrier Median) 2.รูปแบบทางคู่ขนานบริเวณย่านชุมชนของโครงการ (ช่วง กม.3+100 ถึง กม.4+600) มีเขตทางกว้าง 70 เมตร โดยออกแบบเป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจร (ไปกลับ) แบ่งทิศทางจราจรด้วยเกาะกลางแบบกำแพงกั้น (Barrier Median) พร้อมทางคู่ขนานขนาด 2 ช่องจราจรต่อหนึ่งทิศทาง 3.รูปแบบบริเวณจุดกลับรถโครงการ มีจุดกลับรถของโครงการทั้งหมด 15 ตำแหน่ง แบ่งเป็นรูปแบบจุดกลับรถใต้สะพาน ช่องลอด ความสูง 3.50 เมตร จำนวน 6 ตำแหน่ง จุดกลับรถใต้สะพาน ช่องลอด ความสูง 5.50 เมตรจำนวน 6 ตำแหน่ง และจุดกลับรถระดับพื้น จำนวน 3 ตำแหน่ง

4.รูปแบบจุดตัดทางแยก มีการออกแบบจุดตัดทางแยก จำนวน 5 จุดตัด ดังนี้

1.รูปแบบจุดตัดทางแยกบริเวณจุดเริ่มต้นโครงการ บนทางหลวงหมายเลข 24 ออกแบบเป็นสะพานยกระดับบนทางหลวงหมายเลข 24 เดิม เพื่อรองรับรถที่ต้องการเดินทางไปอำเภอหนองกี่ (1 ทิศทาง) โดยยกข้ามถนนในทิศทางเลี้ยวขวา เพื่อให้เข้าสู่ถนนโครงการได้อย่างอิสระโดยไม่ตัดกระแสจราจร และทิศการเดินทางออกจากถนนโครงการที่ต้องการเลี้ยวขวาไปอำเภอนางรอง ให้ไปใช้จุดกลับรถบริเวณใต้สะพานยกระดับ

2.รูปแบบจุดตัดทางแยกบริเวณจุดตัดทางหลวงหมายเลข 348 ออกแบบเป็นสะพานยกระดับบนถนนโครงการ เพื่อรองรับรถที่ต้องการเดินทางไปอำเภอหนองกี่และไปอำเภอเมืองบุรีรัมย์ (2 ทิศทาง) และออกแบบเป็นวงเวียนระดับพื้น เพื่อรองรับรถทางตรงและเลี้ยวขวาทุกทิศทางบนทางหลวงหมายเลข 348 ที่ตัดกับถนนโครงการ

3.รูปแบบจุดตัดทางแยกบริเวณจุดตัดทางหลวงชนบท บร.3001 ออกแบบเป็นสะพานยกระดับบนถนนโครงการ เพื่อรองรับรถที่ต้องการเดินทางไปอำเภอหนองกี่และไปอำเภอบุรีรัมย์ (2 ทิศทาง) และบริเวณทางแยกระดับพื้นออกแบบเป็นทางแยกควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจร เพื่อรองรับรถเลี้ยวขวาทุกทิศทาง

4.รูปแบบจุดตัดทางแยกบริเวณจุดตัดทางหลวงหมายเลข 24 ด้านทิศตะวันออกออกแบบเป็นสะพานยกระดับบนถนนโครงการข้ามทางหลวงหมายเลข 24 เพื่อรองรับรถที่ต้องการไปอำเภอเมืองบุรีรัมย์และอำเภอ

ประโคนชัยเป็นรูปแบบสะพานยกระดับรูปตัววาย (Y) โดยสะพานทางตรงรองรับรถที่ต้องการไปอำเภอเมืองบุรีรัมย์ และมีสะพานเชื่อมต่อเพื่อรองรับรถที่ต้องการเลี้ยวขวาเพื่อไปอำเภอประโคนชัย และทางแยกระดับพื้นมีลักษณะเป็น วงเวียน เพื่อรองรับรถเลี้ยวขวาทุกทิศทาง

5.รูปแบบจุดตัดทางแยกบริเวณจุดสิ้นสุดโครงการ บนทางหลวงหมายเลข 218 ออกแบบเป็นทางแยกระดับพื้นควบคุมด้วยสัญญาณไฟจราจร เพื่อรองรับรถที่ต้องการเลี้ยวขวาออกจากถนนโครงการไปยังอำเภอเมืองบุรีรัมย์และรถที่มาจากอำเภอเมืองบุรีรัมย์ต้องการเดินทางไปยังอำเภอนางรอง โดยรถที่มาจากอำเภอนางรองต้องการเดินทางไปยังอำเภอบุรีรัมย์สามารถเดินทางได้อย่างอิสระไม่จำเป็นต้องหยุดรอสัญญาณไฟจราจร

ทั้งนี้ บริษัทที่ปรึกษาโครงการฯ ได้ดำเนินการศึกษาและประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการพัฒนาโครงการ ครอบคลุมทุกกิจกรรมการก่อสร้างพร้อมทั้งกำหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่สำคัญไว้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพื่อลดผลกระทบต่อประชาชน ชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อมโดยรอบโครงการให้เกิดขึ้นน้อยที่สุด

ภายหลังการประชุมในครั้งนี้ บริษัทที่ปรึกษาโครงการฯ ของกรมทางหลวง จะดำเนินการรวบรวมข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากทุกภาคส่วน เพื่อนำมาพิจารณาประกอบการจัดทำรายงานสรุปผลการศึกษาโครงการให้มีความครบถ้วนสมบูรณ์ต่อไป โดยผู้สนใจสามารถติดตามความคืบหน้าและรายละเอียดของโครงการฯ ได้ 2 ช่องทางได้แก่ 1.เว็บไซต์ www.nangrongbypass-south.com 2.Line : @nangrongbypass-south

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เอง

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า